Type Here to Get Search Results !

เว็บเบราว์เซอร์ เบราว์เซอร์

เว็บเบราว์เซอร์ เบราว์เซอร์ เป็น โปรแกรม หรือ แอปพลิเคชั่นสำคัญที่สุดในคอมพิวเตอร์ และสมาร์ทโฟน และเป็น ประตูเข้าสู่ออนไลน์ มีชื่อเรียกต่างๆ 

ภาพหน้าจอเว็ปเบราว์เซอร์ทั่วไป

เว็บเบราว์เซอร์ เบราว์เซอร์ 

ไอคอนเบราว์เซอร์

ประเภท                      โปรแกรม, แอปพลิเคชัน
วันที่สร้าง                   14 มีนาคม พ.ศ.2566
สร้างโดย                    กึ่งสารานุกรม

เบราว์เซอร์ จะมีเว็ปไซต์ เสิร์ชเอนจิ้น หรือเว็ปค้นหาหลักๆ คือ google.com, bing.com, yahoo.com, ตามมาด้วยเว็ปไซต์ และสื่อโซเชี่ยลยอดนิยมของโลก เช่น facebook.com หรือ fb.com, youtube.com และอื่นๆ 

ในคอมพิวเตอร์ 
  • อินเทอร์เน็ต เอ็กซ์โพลเลอร์ (Internet explo-rer)
  • โมซิล่า ไฟร์ฟ็อกซ์ (Mozilla Firefox)
ในมือถือ หรือสมาร์ทโฟน จะมีชื่อตามอุปกรณ์ หรือ แบรนด์ หรือ ยี่ห้อผู้ผลิต เช่น
  • ซัมซุง อินเทอร์เน็ต | Samsung internet
  • มิเบราว์เซอร์ | Mi Browser
  • ซาฟารี |Safari
  • กูเกิล โครม | Google Chrome 
  • ไฟร์ฟร็อกซ์ | Firefox 
  • โอเปร่า | Opera
  • ไมโครซอฟท์ เอทจ์ | Microsoft Edge
  • อินเทอร์เน็ต | Internet
  • ยูซี เบราว์เซอร์ | UC Browser 
  • และอื่นๆ 
ในส่วนของ มินิ, ลิทท์  mini, lite มาจากคำว่า little คือ 
เล็กๆ, กระทัดรัด, ประหยัด.
mini หรือ lite ออกแบบมามีขนาดความจุ เล็กกว่าเร็วกว่าตัวต้นฉบับ ส่วนคุณภาพ และเสียง คมชัดน้อยกว่า เบราว์เซอร์ต้นฉบับ

ประวัติ
ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี จากศูนย์วิจัยเซิร์น ได้คิดค้นระบบไฮเปอร์เท็กซ์ โปรแกรมค้นดูเว็บตัวแรกมีชื่อว่า เวิลด์ไวด์เว็บ แต่เว็บได้รับความนิยมอย่างจริงจังเมื่อ ศูนย์วิจัยเอ็นซีเอสเอ (NCSA) ของมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์ สหรัฐอเมริกา ได้คิดโปรแกรม โมเสก (MOSAIC) ซึ่งเป็นโปรแกรมค้นดูเว็บเชิงกราฟิก หลังจากนั้นทีมงานที่ทำโมเสกก็ได้ออกไปเปิดบริษัทเน็ตสเคป

โปรแกรมค้นดูเว็บเชื่อมโยงกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ผ่านมาตรฐานหรือโพรโทคอลการรับส่งข้อมูลแบบ เอชทีทีพี ในการส่งหน้าเว็บ หรือเว็บเพจ ปัจจุบันเอชทีทีพีรุ่นล่าสุดคือ ซึ่งสนับสนุนโดยโปรแกรมค้นดูเว็บทั่วไป ยกเว้นอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ที่ยังสนับสนุนไม่เต็มที่

มาตรฐาน
ที่อยู่ของเว็บเพจเรียกว่ายูอาร์แอล หรือยูอาร์ไอ ซึ่งรูปแบบมักจะเริ่มต้นด้วยคำว่า https:// สำหรับการติดต่อแบบเอชทีทีพี โปรแกรมค้นดูเว็บส่วนมากสนับสนุนการเชื่อมต่อรูปแบบอื่นนอกจากนี้ เช่น ftp:// สำหรับเอฟทีพี (FTP) https:// สำหรับเอชทีทีพีแบบสนับสนุนการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น

รูปแบบของไฟล์สำหรับเว็บเรียกว่าเอชทีเอ็มแอล (HTML) และสนับสนุนไฟล์รูปแบบอื่น ๆ เช่น รูปภาพ (JPG, GIF, PNG) หรือเสียง เป็นต้น

อ้างอิง